วันศุกร์ที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2552

โครูนา (เช็ก)

โครูนาเช็ก
koruna česká (เช็ก)
ไฟล์:Korun front.jpg ไฟล์:Korun Back.jpg รหัส ISO 4217 CZK
ใช้ใน สาธารณรัฐเช็ก อัตราเงินเฟ้อ 2.4% ข้อมูลจาก ธนาคารแห่งชาติเช็ก, ตุลาคม 2008 หลักการ ดรรชนีราคาผู้บริโภค
หน่วยย่อย
1/100 haléř สัญลักษณ์ Kč haléř h
พหูพจน์ ภาษาของสกุลเงินนี้เป็นภาษากลุ่มสลาวิก มีการเขียนรูปพหูพจน์ได้หลายวิธี ดูที่บทความ
ธนาคารกลาง ธนาคารแห่งชาติเช็ก เว็บไซต์ www.cnb.cz
โครูนาเช็ก เป็น สกุลเงิน ของสาธารณรัฐเช็ก อักษรย่อตามรหัส ISO 4217 คือ CZK ใน 1 โครูนาประกอบด้วย 100 ฮาเลรู
สาธารณรัฐเช็กวางแผนว่าจะใช้เงินสกุลยูโรใน พ.ศ. 2553
เหรียญ
เหรียญประกอบด้วยเหรียญ 50 ฮาเลรู, 1, 2, 5, 10, 20 และ 50 โครูนา (สำหรับ 20 โครูนา นิยมใช้เหรียญมากกว่า และสำหรับ 50 โครูนา นิยมใช้ธนบัตรมากกว่า)
ธนบัตร
ธนบัตรประกอบด้วยธนบัตร 20, 50, 100, 200, 500, 1000, 2000 และ 5000 โครูนา


อัตราแลกเปลี่ยน

ในวันที่ 19 มิถุนายน 2549 อัตรแลกเปลี่ยนคือ
1 ยูโร = 28.5267 โครูนา
1 ดอลล่าร์สหรัฐ = 22.5684 โครูนา
1 ปอนด์สเตอร์ลิง = 41.7997 โครูนา


แหล่งข้อมูลอื่น

Czech banknotes, ธนาคารแห่งสาธารณรัฐเช็ก
Czech coins, ธนาคารแห่งสาธารณรัฐเช็ก


ยุโรป
โครูนา (เช็ก) • ปอนด์สเตอร์ลิง (สหราชอาณาจักร) • ฟรังก์ (สวิตเซอร์แลนต์) • กิลเดอร์ (ดัตช์) • ยูโร • รูเบิล (รัสเซีย) • ลีราใหม่ (ตุรกี)

เอเชีย กีบ (ลาว) • จ๊าด (พม่า) • ด่อง (เวียดนาม) • ดอลลาร์ (บรูไน) • ดอลลาร์ (สิงคโปร์) • บาท (ไทย) • เปโซ (ฟิลิปปินส์) • เยน (ญี่ปุ่น) • รูเปียห์ (อินโดนีเซีย) • ริงกิต (มาเลเซีย) • รูปี (อินเดีย) • รูปี (เนปาล) • เหรินหมินปี้ (จีน) • เรียล (กัมพูชา) • วอน (เกาหลีเหนือ) • วอน (เกาหลีใต้) • ริยาล (ซาอุดีอารเบีย) • ริยาล (กาตาร์) • เดแฮม (สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์) • ดอลลาร์ (ไต้หวัน)

อเมริกาเหนือ
ดอลลาร์สหรัฐ (สหรัฐอเมริกา) • ดอลลาร์แคนาดา (แคนาดา)
อเมริกาใต้ เรียล (บราซิล)

แอฟริกา ปอนด์ (อียิปต์) • ดีนาร์ (ลิเบีย)

โอเชียเนีย ตาลา (ซามัว) • ดอลลาร์ (นิวซีแลนด์) • ดอลลาร์สหรัฐ (ไมโครนีเซีย ปาเลา มาร์แชลล์) • ดอลลาร์ออสเตรเลีย (ออสเตรเลีย, นาอูรู) • พาแองกา (ตองกา) • วาตู (วานูอาตู)

ปอนด์สเตอร์ลิง (สหราชอาณาจักร)

ปอนด์สเตอร์ลิง (pound sterling) คือ มาตราเงินของอังกฤษ
ประวัติ
เงินปอนด์เริ่มใช้มาตั้งแต่สมัยโบราณ กล่าวคือ เมื่อประมาณ พ.ศ. 1320 ราชอาณาจักรซักซอน (อาจเรียกว่าพวกอังกฤษสมัยโบราณก็ได้ แต่ความจริงแล้ว ซักซอนไม่ได้เป็นบรรพบุรุษโดยตรงของอังกฤษปัจจุบัน) ได้ทำเหรียญกษาปณ์ขึ้นจากโลหะเงินแท้ น้ำหนัก 1 ปอนด์ ซึ่งได้เหรียญเงินเป็นจำนวน 240 อัน เรียกว่าเหรียญสเตอร์ลิง และด้วยน้ำหนักเท่ากับ 1 ปอนด์นี้เอง เมื่อต้องใช้จ่ายเงิน ก็จะบอกค่าเป็นจำนวนปอนด์ของเหรียญสเตอร์ลิง (pounds of sterlings) และภายหลังเรียกสั้นลงว่า ปอนด์สเตอร์ลิง (pound sterling)
ครั้นเมื่อพวกนอร์มัน (Norman) เข้ามาครองอำนาจแทนพวกซักซอน พวกนี้ได้แบ่งหน่วยเงินตราปอนด์ออกเป็นหน่วยย่อย คือ 1 ปอนด์ แบ่งได้ 20 ชิลลิง (shilling) และ 1 ชิลลิง ยังแบ่งได้อีกเป็น 12 เพนนี (เอกพจน์ penny, พหูพจน์ pennies หรือ pence)
เรื่องค่าของปอนด์นั้นยังไม่จบ เพราะตัวย่อของปอนด์นั้นมีปัญหา เมื่ออักษรย่อของปอนด์นั้น ใช้ lb หรือ £ ซึ่งทำให้สับสน และอักษรย่อ หรือเครื่องหมายดังกล่าว มีที่มาจากคำว่า libra ในภาษาละตินสมัยกลาง ความจริงแล้ว คำว่า ลิบรา ก็คือ ตาชั่ง (คำเดียวกับที่เรียกกลุ่มดาวราศีตุล) สำหรับอักษร £. นั้น ก็คือตัว L นั่นเอง (ใช้ได้ทั้งสองแบบ) ในตำราเก่าๆ บางครั้งเขียน l. เฉยๆ ก็มี
ส่วนชิลลิงนั้น เขาใช้อักษรย่อว่า s เฉย ๆ ตัวอักษรนี้ไม่ได้ย่อจาก shilling แต่มาจาก solidus ในภาษาละติน สำหรับหน่วยเล็กสุด คือ เพนนีนั้น ย่อเป็น d เพราะในภาษาละตินนั้น หน่วยเล็กสุดของค่าเงินคือ denarius เราจึงอาจพบการเขียนบอกจำนวนเงินเป็น 2l. 8s. 5d. นั่นคือ 2 ปอนด์ 8 ชิลลิง กับอีก 5 เพนนี
สำหรับเหรียญชิลลิงนั้น มีค่าเท่ากับ 12 เหรียญ เดิมเรียกว่าเทสทัน หรือเทสทูน (teston, testoon) เริ่มมีครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2047 มีการแกะสลักเป็นพระพักตร์ของพระเจ้าเฮนรีที่ 7 ครั้นในสมัยรัชกาลพระเจ้าเฮนรีที่ 8 ก็ยังคงใช้เหรียญค่านี้ แต่เรียกใหม่ว่า ชิลลิง ส่วนที่มาของชื่อนั้น จริงๆ แล้วยังไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัด แต่เข้าใจว่าเรียกตามเหรียญของพวกอังโกล-ซักซอน คือสคีลลิง (scilling, scylling) และบางรัฐของเยอรมนีก็มีการผลิตเหรียญกษาปณ์ที่เรียกว่า ชิลลิง (schilling) เหมือนกัน
ครั้นเมื่อ พ.ศ. 2464 ค่าของชิลลิงเป็นแต่ชื่อเรียกเท่านั้น ไม่ได้มีการผลิตเหรียญเงินค่าชิลลิงออกมา และอีก 26 ปีต่อมา มีการผลิตเหรียญชิลลิง โดยใช้โลหะผสมระหว่างทองแดง และนิกเกิล เรียกว่าโลหะคิวโพรนิเกิล เมื่อถึงวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2514 อังกฤษได้เปลี่ยนมาตราเงินแบบเทียบร้อยตามหลักสากล คือ 100 เพนนี เป็น 1 ปอนด์ โดยไม่ใช้หน่วยชิลลิงอีก ทำให้อักษรย่อชิลลิงจึงหมดไป อักษรย่อเพนนี เปลี่ยนจาก d เป็น p ซึ่งย่อมาจากคำว่าเพนนี (penny) โดยตรง
อัตราแลกเปลี่ยน
1 ปอนด์ = 51.6416 บาทไทย (พ.ศ. 2552)
ธนบัตร
ธนบัตรประกอบด้วย 5, 10, 20 และ 50 ปอนด์
เหรียญประกอบด้วย 1, 2, 5, 10, 20, 50 เพนนี และ 1, 2 ปอนด์
เหรียญกษาปณ์หมุนเวียนสกุลเงินปอนด์สเตอร์ลิง ภาพ มูลค่า เส้นผ่านศูนย์กลาง ความหนา น้ำหนัก ส่วนประกอบ ปีที่ประกาศใช้
ด้านหน้า ด้านหลัง
1 เพนนี 20.03 มม. 1.65 มม. 3.56 กรัม เหล็กกล้าชุบทองแดง พ.ศ. 2514
2 เพนซ์ 25.90 มม. 1.85 มม. 7.12 กรัม พ.ศ. 2514
5 เพนซ์ 18.00 มม. 1.70 มม. 3.25 กรัม ทองแดงผสมนิเกิล (คิวโปรนิเกิล) พ.ศ. 2533
10 เพนซ์ 24.50 มม. 1.85 มม. 6.50 กรัม พ.ศ. 2535
20 เพนซ์ 21.40 มม. 1.70 มม. 5.00 กรัม พ.ศ. 2525
25 เพนซ์ 38.61 มม. 2.89 มม. 28.28 กรัม พ.ศ. 2515
50 เพนซ์ 27.30 มม. 1.78 มม. 8.00 กรัม พ.ศ. 2540
1 ปอนด์ 22.50 มม. 3.15 มม. 9.50 กรัม ทองเหลืองผสมนิเกิล (นิเกิลบราส) พ.ศ. 2526
2 ปอนด์ 28.40 มม. 2.50 มม. 12.00 กรัม วงแหวน: ทองเหลืองผสมนิเกิล (นิเกิลบราส)
ตรงกลาง: ทองแดงผสมนิเกิล (คิวโปรนิเกิล) พ.ศ. 2540
5 ปอนด์ 38.61 มม. 2.89 มม. 28.28 กรัม ทองแดงผสมนิเกิล (คิวโปรนิเกิล) พ.ศ. 2533
ยุโรปโครูนา (เช็ก) • ปอนด์สเตอร์ลิง (สหราชอาณาจักร) • ฟรังก์ (สวิตเซอร์แลนต์) • กิลเดอร์ (ดัตช์) • ยูโร • รูเบิล (รัสเซีย) • ลีราใหม่ (ตุรกี)
เอเชีย กีบ (ลาว) • จ๊าด (พม่า) • ด่อง (เวียดนาม) • ดอลลาร์ (บรูไน) • ดอลลาร์ (สิงคโปร์) • บาท (ไทย) • เปโซ (ฟิลิปปินส์) • เยน (ญี่ปุ่น) • รูเปียห์ (อินโดนีเซีย) • ริงกิต (มาเลเซีย) • รูปี (อินเดีย) • รูปี (เนปาล) • เหรินหมินปี้ (จีน) • เรียล (กัมพูชา) • วอน (เกาหลีเหนือ) • วอน (เกาหลีใต้) • ริยาล (ซาอุดีอารเบีย) • ริยาล (กาตาร์) • เดแฮม (สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์) • ดอลลาร์ (ไต้หวัน)
อเมริกาเหนือ ดอลลาร์สหรัฐ (สหรัฐอเมริกา) • ดอลลาร์แคนาดา (แคนาดา)
อเมริกาใต้ เรียล (บราซิล)
แอฟริกา ปอนด์ (อียิปต์) • ดีนาร์ (ลิเบีย)
โอเชียเนีย ตาลา (ซามัว) • ดอลลาร์ (นิวซีแลนด์) • ดอลลาร์สหรัฐ (ไมโครนีเซีย ปาเลา มาร์แชลล์) • ดอลลาร์ออสเตรเลีย (ออสเตรเลีย, นาอูรู) • พาแองกา (ตองกา) • วาตู (วานูอาตู)

ฟรังก์ (สวิตเซอร์แลนต์)

ฟรังก์สวิส (อังกฤษ: Swiss franc ; ISO 4217: CHF หรือ 756) เป็นสกุลเงินและตั๋วเงินที่ใช้ชำระหนี้ได้ตามกฎหมายของประเทศสวิตเซอร์แลนด์และประเทศลิกเตนสไตน์ และมีใช้ในดินแดนบางส่วนของประเทศอิตาลีและเยอรมนี

Swiss National Bank ซึ่งเป็นธนาคารกลางของสวิตเซอร์แลนด์ เป็นผู้ออกธนบัตรฟรังก์ ส่วนเหรียญกษาปณ์นั้น ออกโดย Swissmint โรงกษาปณ์ของสหพันธ์

ยุโรป โครูนา (เช็ก) • ปอนด์สเตอร์ลิง (สหราชอาณาจักร) • ฟรังก์ (สวิตเซอร์แลนต์) • กิลเดอร์ (ดัตช์) • ยูโร • รูเบิล (รัสเซีย) • ลีราใหม่ (ตุรกี)

เอเชีย กีบ (ลาว) • จ๊าด (พม่า) • ด่อง (เวียดนาม) • ดอลลาร์ (บรูไน) • ดอลลาร์ (สิงคโปร์) • บาท (ไทย) • เปโซ (ฟิลิปปินส์) • เยน (ญี่ปุ่น) • รูเปียห์ (อินโดนีเซีย) • ริงกิต (มาเลเซีย) • รูปี (อินเดีย) • รูปี (เนปาล) • เหรินหมินปี้ (จีน) • เรียล (กัมพูชา) • วอน (เกาหลีเหนือ) • วอน (เกาหลีใต้) • ริยาล (ซาอุดีอารเบีย) • ริยาล (กาตาร์) • เดแฮม (สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์) • ดอลลาร์ (ไต้หวัน)

อเมริกาเหนือ ดอลลาร์สหรัฐ (สหรัฐอเมริกา) • ดอลลาร์แคนาดา (แคนาดา)

อเมริกาใต้ เรียล (บราซิล)

แอฟริกา ปอนด์ (อียิปต์) • ดีนาร์ (ลิเบีย)

โอเชียเนีย ตาลา (ซามัว) • ดอลลาร์ (นิวซีแลนด์) • ดอลลาร์สหรัฐ (ไมโครนีเซีย ปาเลา มาร์แชลล์) • ดอลลาร์ออสเตรเลีย (ออสเตรเลีย, นาอูรู) • พาแองกา (ตองกา) • วาตู (วานูอาตู)

เปโซ (ฟิลิปปินส์)

เปโซ (Peso) เป็นชื่อของ ค่าเงิน ที่ใช้กันในหลายประเทศ ได้แก่:
• อาร์เจนตินา: เปโซอาร์เจนตินา (ISO 4217: ARS)
• ชิลี: เปโซชิลี (CLP)
• โคลัมเบีย: เปโซโคลัมเบีย (COP)
• คิวบา: เปโซคิวบา (CUP)
• โดมินิกัน: เปโซโดมินิกัน (DOP)
• เม็กซิโก: เปโซเม็กซิกัน (MXN, previously MXP)
• ฟิลิปปินส์: เปโซฟิลิปปินส์ (PHP)
• อุรุกวัย: เปโซอุรุกวัย (UYU)
ใน ภาษาสเปน "เปโซ" หมายถึง น้ำหนัก

ยุโรป โครูนา (เช็ก) • ปอนด์สเตอร์ลิง (สหราชอาณาจักร) • ฟรังก์ (สวิตเซอร์แลนต์) • กิลเดอร์ (ดัตช์) • ยูโร • รูเบิล (รัสเซีย) • ลีราใหม่ (ตุรกี)

เอเชีย กีบ (ลาว) • จ๊าด (พม่า) • ด่อง (เวียดนาม) • ดอลลาร์ (บรูไน) • ดอลลาร์ (สิงคโปร์) • บาท (ไทย) • เปโซ (ฟิลิปปินส์) • เยน (ญี่ปุ่น) • รูเปียห์ (อินโดนีเซีย) • ริงกิต (มาเลเซีย) • รูปี (อินเดีย) • รูปี (เนปาล) • เหรินหมินปี้ (จีน) • เรียล (กัมพูชา) • วอน (เกาหลีเหนือ) • วอน (เกาหลีใต้) • ริยาล (ซาอุดีอารเบีย) • ริยาล (กาตาร์) • เดแฮม (สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์) • ดอลลาร์ (ไต้หวัน)

อเมริกาเหนือ ดอลลาร์สหรัฐ (สหรัฐอเมริกา) • ดอลลาร์แคนาดา (แคนาดา)

อเมริกาใต้ เรียล (บราซิล)

แอฟริกา ปอนด์ (อียิปต์) • ดีนาร์ (ลิเบีย)

โอเชียเนีย ตาลา (ซามัว) • ดอลลาร์ (นิวซีแลนด์) • ดอลลาร์สหรัฐ (ไมโครนีเซีย ปาเลา มาร์แชลล์) • ดอลลาร์ออสเตรเลีย (ออสเตรเลีย, นาอูรู) • พาแองกา (ตองกา) • วาตู (วานูอาตู)

รูเปียห์(อินโดนีเซีย)

ชื่อมาจากหน่วยเงินของอินเดีย รูปี อินโดนีเซียได้ใช้เงินกิลเดอร์ระหว่าง พ.ศ. 2153 ถึง พ.ศ. 2360 ซึ่งมีการออกเงินดัตช์อีสต์อินดีส์กิลเดอร์ เงินรูเปียห์ออกใช้เป็นครั้งแรกระหว่างการยึดครองของญี่ปุ่นสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 และหลังจากสงครามสิ้นสุดลง ธนาคารชวาได้ออก รูเปียห์ชวา มาแทนที่ชั่วคราว นิคา กิลเดอร์ของประเทศเนเธอร์แลนด์ และหน่วยเงินต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกองกำลังโจรก็ใช้กันทั่วหมู่เกาะด้วยเช่นกัน

4 ปีหลังจากประกาศเอกราช ได้มีการนำรูเปียห์อินโดนีเซียออกมาใช้ในวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492 เป็นหน่วยเงินประจำชาติตัวใหม่ หมู่เกาะเรียว และเกาะนิวกินีในส่วนของประเทศอินโดนีเซีย (อิเรียน บารัต) ก็มีการออกรูเปียห์ของตัวเองเช่นกัน แต่ต่อมาได้รวมเข้ากับรูเปียห์ของชาติเมื่อ พ.ศ. 2507 และ พ.ศ. 2514 ตามลำดับ หลังจากที่มีการลดค่าจากภาวะเงินเฟ้ออย่างรุนแรง ในวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2508 ได้มีการออกรูเปียห์ใหม่ (New Rupiah) โดยมีอัตราแลกเปลี่ยน 1000 รูเปียห์เก่า เป็น 1 รูเปียห์ใหม่ วิกฤตเศรษฐกิจในเอเชียเมื่อ พ.ศ. 2540 ทำให้เกิดการลดค่ารูเปียห์ถึง 35% ในช่วงเวลาเพียงข้ามคืน และนำไปสู่การโค่นล้มซูฮาร์โต

เงินรูเปียห์สามารถแลกได้อย่างอิสระ แต่มีอัตราแลกเปลี่ยนมีค่าปรับเพิ่มเติม เนื่องจากภาวะเงินเฟ้อสูงอย่างต่อเนื่อง. ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2547, 1 ดอลลาร์สหรัฐ เท่ากับประมาณ 9,230 รูเปียห์

ยุโรป
โครูนา (เช็ก) • ปอนด์สเตอร์ลิง (สหราชอาณาจักร) • ฟรังก์ (สวิตเซอร์แลนต์) • กิลเดอร์ (ดัตช์) • ยูโร • รูเบิล (รัสเซีย) • ลีราใหม่ (ตุรกี)

เอเชีย กีบ (ลาว) • จ๊าด (พม่า) • ด่อง (เวียดนาม) • ดอลลาร์ (บรูไน) • ดอลลาร์ (สิงคโปร์) • บาท (ไทย) • เปโซ (ฟิลิปปินส์) • เยน (ญี่ปุ่น) • รูเปียห์ (อินโดนีเซีย) • ริงกิต (มาเลเซีย) • รูปี (อินเดีย) • รูปี (เนปาล) • เหรินหมินปี้ (จีน) • เรียล (กัมพูชา) • วอน (เกาหลีเหนือ) • วอน (เกาหลีใต้) • ริยาล (ซาอุดีอารเบีย) • ริยาล (กาตาร์) • เดแฮม (สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์) • ดอลลาร์ (ไต้หวัน)

อเมริกาเหนือ ดอลลาร์สหรัฐ (สหรัฐอเมริกา) • ดอลลาร์แคนาดา (แคนาดา)

อเมริกาใต้ เรียล (บราซิล)

แอฟริกา ปอนด์ (อียิปต์) • ดีนาร์ (ลิเบีย)

โอเชียเนีย ตาลา (ซามัว) • ดอลลาร์ (นิวซีแลนด์) • ดอลลาร์สหรัฐ (ไมโครนีเซีย ปาเลา มาร์แชลล์) • ดอลลาร์ออสเตรเลีย (ออสเตรเลีย, นาอูรู) • พาแองกา (ตองกา) • วาตู (วานูอาตู)

ริงกิต(มาเลเซีย)

ริงกิตมาเลเซีย หรือที่ชาวบ้านมักเรียกว่า ดอลลาร์มาเลเซีย เป็นเงินตราประจำชาติของประเทศมาเลเซีย ซึ่งแบ่งเป็น 100 เซ็น (รหัสเงินตรา MYR). ดอลลาร์สิงคโปร์และดอลลาร์บรูไนก็เรียกว่า ริงกิต ในภาษามาเลย์ คำว่า ringgit ในภาษามาเลย์แปลว่า "เป็นหยัก ๆ" และใช้อ้างถึงขอบหยัก ๆ ของ เหรียญเงินของประเทศสเปนที่ใช้แพร่หลายในพื้นที่
ในปี พ.ศ. 2380 รูปีได้กลายเป็นเงินตราราชการชนิดเดียวในอาณานิคมช่องแคบ (Straits Settlements) แต่ในปี พ.ศ. 2410 เหรียญเงินได้เป็นเงินตราที่ถูกต้องตามกฎหมายอีกครั้ง ในปี พ.ศ. 2446 ได้มีการนำดอลลาร์ช่องแคบ (Straits dollar) ออกมาใช้โดย Board of Commissioners of Currency โดยที่ตั้งราคาไว้ที่ 2 ชิลลิง และ 4 เพนซ์ และได้มีการห้ามไม่ให้ธนาคารเอกชนออกธนบัตรเอง ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ได้เกิดความไม่ต่อเนื่องของเงินตรา 2 ครั้ง คือ การยึดครองของประเทศญี่ปุ่น (พ.ศ. 2485-2487) และการลดค่าเงินของปอนด์สเตอร์ลิงในปี พ.ศ. 2510 เป็นเหตุให้ธนบัตรของ Board of Commissioners of Currency of Malaya and British Borneo ลดค่าไป 15% ในขณะที่ดอลลาร์ของ Bank Negara Malaysia และ Commissioners of Currency ของสิงคโปร์และบรูไนไม่มีการลดค่า
ชื่อภาษามาเลย์ คือ ริงกิต และ เซ็น ได้กลายเป็นชื่ออย่างเป็นทางการในสิงหาคม พ.ศ. 2518 ก่อนหน้านี้ เงินตราได้เรียกเป็น ดอลลาร์ และ เซนต์ ในภาษาอังกฤษ และ ริงกิต และ เซ็น ในภาษามาเลย์ อย่างไรก็ดี การใช้สัญลักษณ์ดอลลาร์ "$" (หรือ "M$") ไม่ได้ถูกเปลี่ยนแปลงเป็น "RM" (Ringgit Malaysia) จนถึงช่วง พ.ศ. 2533
ตั้งแต่วิกฤตทางการเงินในเอเซียเมื่อปี พ.ศ. 2540 ได้มีการตรึงอัตราแลกเปลี่ยนของริงกิตกับดอลลาร์สหรัฐไว้ที่ RM3.80 ต่อ 1 ดอลลาร์สหรัฐ

ยุโรป โครูนา (เช็ก) • ปอนด์สเตอร์ลิง (สหราชอาณาจักร) • ฟรังก์ (สวิตเซอร์แลนต์) • กิลเดอร์ (ดัตช์) • ยูโร • รูเบิล (รัสเซีย) • ลีราใหม่ (ตุรกี)

เอเชีย กีบ (ลาว) • จ๊าด (พม่า) • ด่อง (เวียดนาม) • ดอลลาร์ (บรูไน) • ดอลลาร์ (สิงคโปร์) • บาท (ไทย) • เปโซ (ฟิลิปปินส์) • เยน (ญี่ปุ่น) • รูเปียห์ (อินโดนีเซีย) • ริงกิต (มาเลเซีย) • รูปี (อินเดีย) • รูปี (เนปาล) • เหรินหมินปี้ (จีน) • เรียล (กัมพูชา) • วอน (เกาหลีเหนือ) • วอน (เกาหลีใต้) • ริยาล (ซาอุดีอารเบีย) • ริยาล (กาตาร์) • เดแฮม (สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์) • ดอลลาร์ (ไต้หวัน)

อเมริกาเหนือ ดอลลาร์สหรัฐ (สหรัฐอเมริกา) • ดอลลาร์แคนาดา (แคนาดา)

อเมริกาใต้ เรียล (บราซิล)

แอฟริกา ปอนด์ (อียิปต์) • ดีนาร์ (ลิเบีย)

โอเชียเนีย ตาลา (ซามัว) • ดอลลาร์ (นิวซีแลนด์) • ดอลลาร์สหรัฐ (ไมโครนีเซีย ปาเลา มาร์แชลล์) • ดอลลาร์ออสเตรเลีย (ออสเตรเลีย, นาอูรู) • พาแองกา (ตองกา) • วาตู (วานูอาตู)

กีบ (ประเทศลาว )

กีบ (สกุลเงิน)
สำหรับผู้ใช้ที่ต้องการหาคำว่ากีบ ในความหมายอื่น ดู กีบ (แก้ความกำกวม)
กีบ (สกุลเงิน)
ກີບ
ธนบัตร 1,000 กีบลาว ถ่ายเมื่อปี พ.ศ. 2539
รหัส ISO 4217 LAK
ใช้ใน ประเทศลาว
อัตราเงินเฟ้อ 8.49%
ข้อมูลจาก Bank of the Lao P.D.R
(กันยายน 2551)
หน่วยย่อย
1/100 อัด
สัญลักษณ์ ₭ หรือ ₭N
เหรียญ
เหรียญที่ไม่ใช้บ่อย 10, 20, 50 อัด
1, 5, 10, 20, 50 กีบ
ธนบัตร
ธนบัตรที่ใช้บ่อย 1000, 2000, 5000, 10000, 20000, 50000 กีบ
ธนบัตรที่ไม่ใช้บ่อย 1, 5, 10, 20, 50, 100, 500 กีบ
ธนาคารกลาง ธนาคารแห่งส.ป.ป.ลาว
เว็บไซต์ www.bol.gov.la
กีบ (ลาว: ກີບ) เป็นหน่วยเงินของประเทศลาว (รหัสสากลตาม ISO 4217 อักษรย่อ LAK) หนึ่งกีบมี 100 อัด (ลาว: ອັດ)
ในปี พ.ศ. 2522 เกิดการปฏิรูปค่าเงินขึ้น โดยเปลี่ยน 100 กีบแบบเก่าให้เท่ากับ 1 กีบในปัจจุบัน อัตราแลกเปลี่ยนเมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2548 คือ 1 ยูโร เท่ากับ 13,636 กีบ และ 1 ดอลลาร์สหรัฐ เท่ากับ 10,500 กีบ
ธนาคารแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เป็นผู้รับผิดชอบพิมพ์เงินตราออกใช้
ธนบัตร
50,000 กีบ (ห้าสิบพันกีบ)
20,000 กีบ (ซาวพันกีบ)
10,000 กีบ (สิบพันกีบ)
5,000 กีบ
2,000 กีบ
1,000 กีบ
500 กีบ
100 กีบ
50 กีบ
20 กีบ
10 กีบ
5 กีบ
1 กีบ

ยุโรป โครูนา (เช็ก) • ปอนด์สเตอร์ลิง (สหราชอาณาจักร) • ฟรังก์ (สวิตเซอร์แลนต์) • กิลเดอร์ (ดัตช์) • ยูโร • รูเบิล (รัสเซีย) • ลีราใหม่ (ตุรกี)

เอเชีย กีบ (ลาว) • จ๊าด (พม่า) • ด่อง (เวียดนาม) • ดอลลาร์ (บรูไน) • ดอลลาร์ (สิงคโปร์) • บาท (ไทย) • เปโซ (ฟิลิปปินส์) • เยน (ญี่ปุ่น) • รูเปียห์ (อินโดนีเซีย) • ริงกิต (มาเลเซีย) • รูปี (อินเดีย) • รูปี (เนปาล) • เหรินหมินปี้ (จีน) • เรียล (กัมพูชา) • วอน (เกาหลีเหนือ) • วอน (เกาหลีใต้) • ริยาล (ซาอุดีอารเบีย) • ริยาล (กาตาร์) • เดแฮม (สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์) • ดอลลาร์ (ไต้หวัน)

อเมริกาเหนือ ดอลลาร์สหรัฐ (สหรัฐอเมริกา) • ดอลลาร์แคนาดา (แคนาดา)

อเมริกาใต้ เรียล (บราซิล)

แอฟริกา ปอนด์ (อียิปต์) • ดีนาร์ (ลิเบีย)

โอเชียเนีย ตาลา (ซามัว) • ดอลลาร์ (นิวซีแลนด์) • ดอลลาร์สหรัฐ (ไมโครนีเซีย ปาเลา มาร์แชลล์) • ดอลลาร์ออสเตรเลีย (ออสเตรเลีย, นาอูรู) • พาแองกา (ตองกา) • วาตู (วานูอาตู)

วอน(สกุลเงินเกาหลีใต้)

ธนบัตรและเหรียญในสกุลวอน
ฮันกึล:대한민국 원 ฮันจา:大韓民國 원 วอน (สัญลักษณ์: ₩, ภาษาเกาหลี: 원, won) เป็นสกุลเงินของประเทศเกาหลีใต้ ตัวย่อตามมาตราฐานใน ISO 4217 คือ KRW ธนบัตรของเกาหลีใต้จะมี3ชนิดคือ
1. ธนบัตร จำนวน 1,000 วอน (₩1,000)
2. ธนบัตร จำนวน 5,000 วอน (₩5,000)
3. ธนบัตร จำนวน 10,000 วอน (₩10,000)
เหรียญของเกาหลีใต้จะมี 5 ชนิดคือ
1. เหรียญจำนวน 1 วอน (₩1)
2. เหรียญจำนวน 10 วอน (₩10)
3. เหรียญจำนวน 50 วอน (₩50)
4. เหรียญจำนวน 100 วอน (₩100)
5. เหรียญจำนวน 500 วอน (₩500)

ยุโรป โครูนา (เช็ก) • ปอนด์สเตอร์ลิง (สหราชอาณาจักร) • ฟรังก์ (สวิตเซอร์แลนต์) • กิลเดอร์ (ดัตช์) • ยูโร • รูเบิล (รัสเซีย) • ลีราใหม่ (ตุรกี)

เอเชีย กีบ (ลาว) • จ๊าด (พม่า) • ด่อง (เวียดนาม) • ดอลลาร์ (บรูไน) • ดอลลาร์ (สิงคโปร์) • บาท (ไทย) • เปโซ (ฟิลิปปินส์) • เยน (ญี่ปุ่น) • รูเปียห์ (อินโดนีเซีย) • ริงกิต (มาเลเซีย) • รูปี (อินเดีย) • รูปี (เนปาล) • เหรินหมินปี้ (จีน) • เรียล (กัมพูชา) • วอน (เกาหลีเหนือ) • วอน (เกาหลีใต้) • ริยาล (ซาอุดีอารเบีย) • ริยาล (กาตาร์) • เดแฮม (สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์) • ดอลลาร์ (ไต้หวัน)

อเมริกาเหนือ ดอลลาร์สหรัฐ (สหรัฐอเมริกา) • ดอลลาร์แคนาดา (แคนาดา)

อเมริกาใต้ เรียล (บราซิล)

แอฟริกา ปอนด์ (อียิปต์) • ดีนาร์ (ลิเบีย)

โอเชียเนีย ตาลา (ซามัว) • ดอลลาร์ (นิวซีแลนด์) • ดอลลาร์สหรัฐ (ไมโครนีเซีย ปาเลา มาร์แชลล์) • ดอลลาร์ออสเตรเลีย (ออสเตรเลีย, นาอูรู) • พาแองกา (ตองกา) • วาตู (วานูอาตู)


วอน(สกุลเงินเกาหลีเหนือ)

วอน คือสกุลเงินที่เกาหลีเหนือใช้เป็นสกุลเงินในปัจจุบัน ซึ่ง 1000 วอน เทียบเป็นเงินไทยประมาณ 40 บาท มีธนบัตรเพียง 3 แบบเท่านั้น คือ ธนบัตรใบละ 1000 วอน ธนบัตรใบละ 5000 วอน และ ธนบัตรใบละ 10000 วอน
ข้อมูลโดยทั่วไป
• รูปบุคคลที่อยู่ในธนบัตร 1000 วอน มีชื่อว่า (퇴계이황) เทว เค อี ฮวัง มีชีวิตอยู่ในช่วง ค.ศ. 1501 - 1570
• รูปบุคคลที่อยู่ในธนบัตร 5000 วอน มีชื่อว่า (율곡이이) ยูล คก อีอี มีชีวิตอยู่ในช่วง ค.ศ. 1536 - 1570
• รูปบุคคลที่อยู่ในธนบัตร 10000 วอน มีชื่อว่า (세종대왕) เซ จง แท วัง มีชีวิตอยู่ในช่วง ค.ศ. 1397 - 1450
• สองท่านแรก เป็นนักวิชาการที่มีชื่อเสียง ส่วนท่านที่สามเป็นกษัตริย์ของเกาหลี
เกาหลีเหนือ เพิ่งมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบธนบัตรแบบใหม่ออกมาใช้ โดย แบงค์ 5000 วอน เริ่มนำออกมาใช้เมื่อวันที่ 2 มกราคม ค.ศ. 2006 ส่วนธนบัตรใบละ 1000 และ 10000 วอน เริ่มออกมาใช้เมื่อวันที่ 22 มกราคม ค.ศ. 2007 นี้โดยธนบัตรแบบใหม่จะมีรูปร่างเล็กกว่าของเดิม

ยุโรป โครูนา (เช็ก) • ปอนด์สเตอร์ลิง (สหราชอาณาจักร) • ฟรังก์ (สวิตเซอร์แลนต์) • กิลเดอร์ (ดัตช์) • ยูโร • รูเบิล (รัสเซีย) • ลีราใหม่ (ตุรกี)

เอเชีย กีบ (ลาว) • จ๊าด (พม่า) • ด่อง (เวียดนาม) • ดอลลาร์ (บรูไน) • ดอลลาร์ (สิงคโปร์) • บาท (ไทย) • เปโซ (ฟิลิปปินส์) • เยน (ญี่ปุ่น) • รูเปียห์ (อินโดนีเซีย) • ริงกิต (มาเลเซีย) • รูปี (อินเดีย) • รูปี (เนปาล) • เหรินหมินปี้ (จีน) • เรียล (กัมพูชา) • วอน (เกาหลีเหนือ) • วอน (เกาหลีใต้) • ริยาล (ซาอุดีอารเบีย) • ริยาล (กาตาร์) • เดแฮม (สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์) • ดอลลาร์ (ไต้หวัน)

อเมริกาเหนือ ดอลลาร์สหรัฐ (สหรัฐอเมริกา) • ดอลลาร์แคนาดา (แคนาดา)

อเมริกาใต้ เรียล (บราซิล)

แอฟริกา ปอนด์ (อียิปต์) • ดีนาร์ (ลิเบีย)

โอเชียเนีย ตาลา (ซามัว) • ดอลลาร์ (นิวซีแลนด์) • ดอลลาร์สหรัฐ (ไมโครนีเซีย ปาเลา มาร์แชลล์) • ดอลลาร์ออสเตรเลีย (ออสเตรเลีย, นาอูรู) • พาแองกา (ตองกา) • วาตู (วานูอาตู)

วันพฤหัสบดีที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2552

ประวัติศาสตร์สกุลเงินบาท

ระบบสกุลเงินไทยในปัจจุบัน ซึ่งเงิน หนึ่งบาท มีค่าเท่ากับ 100 สตางค์ เริ่มใช้ปี พ.ศ. 2440 ในสมัยรัชกาลที่ 5 ก่อนหน้านั้นเงินตราไทยใช้ระบบดังนี้

หน่วยเงิน มูลค่า วิธีการสะกดแบบอื่นในสมัยโบราณ
หาบ 6,400 บาท
ชั่ง 80 บาท
ตำลึง 4 บาท
บาท 1 บาท
มายน หรือ มะยง 1⁄2 บาท
สลึง 1⁄4 บาท
เฟื้อง 1⁄8 บาท
ซีก 1⁄16 บาท สิ้ก
เสี้ยว หรือ ไพ 1⁄32 บาท เซี่ยว
อัฐ 1⁄64 บาท
โสฬส 1⁄128 บาท โสฬศ
เบี้ย 1⁄6400 บาท

สกุลเงินต่างๆ


เงินบาท (ตัวละติน: Baht ; สัญลักษณ์: ฿ ; รหัสสากลตาม ISO 4217: THB) เป็นสกุลเงินตราประจำชาติของประเทศไทย เดิมคำว่า "บาท" เป็นหนึ่งในคำใช้เรียกหน่วยการชั่งน้ำหนักของไทย ปัจจุบันยังมีใช้ในความหมายเดิมอยู่บ้าง โดยเฉพาะในการซื้อขายทองคำ เช่น "ทองคำวันนี้ราคาขายบาทละ 8,400 บาท" หมายถึงทองคำหนักหนึ่งบาทสามารถขายได้ 8,400 บาท ในสมัยที่เริ่มใช้เหรียญครั้งแรก เงินเหรียญหนึ่งบาทนั้นเป็นเงินที่มีน้ำหนักหนึ่งบาทจริง ๆ ไม่ได้ทำด้วยทองแดงนิกเกิลเช่นในปัจจุบัน

เหรียญไทยนั้นผลิตออกมาโดยกองกปาษณ์ กรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง โดยสามารถผลิตออกใช้ได้ไม่จำกัดจำนวนโดยไม่ต้องมีสิ่งใดมาค้ำประกัน เพราะโลหะที่ใช้ผลิตเหรียญกปาษณ์นั้นมีค่าในตัวเองอยู่แล้ว ส่วนธนบัตรนั้นผลิตและควบคุมการหมุนเวียนโดยธนาคารแห่งประเทศไทย การผลิตธนบัตรนำออกใช้จะมีหลักเกณฑ์วิธีที่เหมาะสมเพื่อให้เศรษฐกิจของชาติมีเสถียรภาพ